Top Guidelines Of อาชญากรรม - สังคม

ไทยยังเป็นทางผ่านและประเทศปลายทางสำหรับการค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็น นอแรดจากทวีปแอฟริกา หนังเสือโคร่ง งาช้าง หรือตัวลิ่น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมค้าสัตว์ป่าข้ามชาติมีทั้งเครือข่ายอาชญากรรมในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนที่คอยอำนวยความสะดวกให้กับกลุ่มขบวนการ

ปัจจุบันเมื่อเกิดคดีอาชญากรรมร้ายแรง สังคมมักเรียกร้องให้มีการบังคับใช้โทษประหารชีวิตอย่างจริงจังต่อผู้กระทำความผิด โดยเชื่อไปเองว่าเหตุการณ์เหล่านั้นจะไม่เกิดขึ้นอีกเพราะฆาตกรได้ตายไปแล้ว แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลขอยืนยันว่าได้ให้ความเคารพต่อทุกๆ ข้อคิดเห็นเหล่านั้นเสมอมาในฐานะที่เราต่างอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความเป็นประชาธิปไตย แม้ในความเป็นจริงมิได้เป็นเช่นนั้นเลย อาชญากรรมและความรุนแรงยังคงมีอยู่เพียงแค่เปลี่ยนตัวผู้กระทำความผิดเท่านั้นเอง

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลจึงคัดค้านโทษประหารชีวิตทุกกรณีโดยไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าจะเป็นความผิดทางอาญาประเภทใด ไม่ว่าผู้กระทำผิดจะมีบุคลิกลักษณะใด หรือไม่ว่าทางการจะใช้วิธีประหารชีวิตแบบใด รวมทั้งงานวิจัยมากมายจากนานาประเทศได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าโทษประหารชีวิตไม่มีความเชื่อมโยงใดๆ กับการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของอาชญากรรม

เปิดปมเหตุระทึก! หนุ่มใหญ่พกปืนมาหาอดีตภรรยา ก่อนตัดสินใจปลิดชีพกลางรพ. ดัง

เปิดเทรนด์ยาเสพติดวัยรุ่นไทย-ตลาดยาเริ่มค้าผ่านสกุลเงินดิจิทัล

"บิ๊กต่าย" เข้มปราบอบายมุข กำชับ ตร.ทั่วประเทศห้ามมีบ่อน คาดโทษย้ายจริง

“ความพินาศ” และ “คราบน้ำตาบนผืนดิน” คนโคราช จากเหมืองแร่โปแตชที่เศรษฐาต้องการ

สถาบันยุติธรรมของไทยวางกรอบการทำงานใหม่เพื่อรับมือกับปัญหาอาชญากรรม และสนับสนุนให้ผู้กระทำความผิดสามารถพัฒนาตนเอง เพื่อป้องกันการกระทำผิดซ้ำในอนาคต รวมทั้งก่อตั้งหน่วยงานเฉพาะทางจำนวนมากขึ้นมาดูแลปัญหาค้ามนุษย์

ความยากจน การเลือกปฏิบัติและความไม่เท่าเทียม สุขภาพจิต การเข้าถึงและคุณภาพการศึกษา และการเข้าถึงการรักษาพยาบาลและความสามารถในการจ่ายเป็นตัวอย่างปัญหาสังคมทั่วไป

อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก

ชะตากรรมเมืองสแกมเมอร์ทุนจีนติด อ.แม่สอด หลัง "กะเหรี่ยงบีจีเอฟ" แปรพักตร์จากรัฐบาลเมียนมา

คำตอบ: ในประเทศที่มีโทษประหารชีวิต เวลามีคนค้ายา หรือกระทำอาชญากรรม ก็แค่ฆ่าคนทำผิด นั่นแปลว่าสังคมเราจะปลอดภัยขึ้นจากการฆ่าคนจริงหรือ? ในความเป็นจริง หลายประเทศที่ไม่มีโทษประหารชีวิตนั้นให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการป้องกันอาชญากรรม คิดหาวิธีที่จะทำอย่างไรไม่ให้เกิดอาชญากรรมเหล่านั้นขึ้น ดังนั้น เมื่อเกิดอาชญากรรมขึ้น เขาต้องแจกแจงออกมาว่า อะไรเป็นสาหตุของการเกิดคดี และตัวตนของคนที่ก่ออาชญากรรมเป็นอย่างไร จากทุกมุมมองที่เป็นไปได้และศึกษาวิจัยต้นสายปลายเหตุและแก้ไข ในขณะเดียวกันคนที่กระทำความผิดก็ต้องได้รับการฟื้นฟูจิตใจด้วย more info เผื่อว่าสุดท้ายผู้กระทำผิดดังกล่าวจะได้กลับสู่สังคม และกลับตัวเป็นคนดีไม่ได้กลับไปเป็นอาชญากรอีก

ชะตากรรมเมืองสแกมเมอร์ทุนจีนติด อ.แม่สอด หลัง "กะเหรี่ยงบีจีเอฟ" แปรพักตร์จากรัฐบาลเมียนมา

ในรายงานเรื่อง “การประหารชีวิตที่อยุติธรรมในภูมิภาคเอเชีย” ได้มีการทบทวนคดีต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความร้ายแรงของการใช้โทษประหารชีวิต การตัดสินว่าใครจะถูกประหารและใครที่จะรอด มักไม่ได้ขึ้นอยู่กับพฤติการณ์ของความผิด แต่ขึ้นอยู่กับชาติพันธุ์หรืออัตลักษณ์อื่นๆ ของจำเลยเองด้วย ขึ้นอยู่กับสถานะทางเศรษฐกิจหรือสังคมของบุคคล หรือขึ้นอยู่กับความสามารถของจำเลยที่จะทำความเข้าใจและเจรจาในระหว่างการไต่สวนคดี หรือการได้รับความช่วยเหลือและเข้าถึงทนายความอย่างเพียงพอ รวมไปถึงปัจจัยอื่นๆ ที่สามารถทำให้จำเลยจะสามารถท้าทายความไม่เป็นธรรมของระบบยุติธรรมทางอาญาที่มุ่งผลักดันตนเองให้เข้าสู่หนทางแห่งความตายได้

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *